การแข่งขันตั้งแต่ประเภท 2, 3 และ 4 กำหนดให้ใช้เวลาในการแข่งขันคู่ละ 7 นาที
เมื่อนักกีฬาแสดงครบเวลา 6 นาที กรรมการจะกดกริ่งเตือน 1 ครั้ง
เมื่อนักกีฬาแสดงต่อไปต่อไปจนครบเวลา 7 นาที กรรมการจะประกาศให้ทราบว่าหมดเวลาแล้ว
แต่ถ้านักกีฬาแสดงเกินกำหนดเวลา 7 นาที กรรมการจะตัดคะแนนคู่นั้น 2 คะแนน
จากคะแนนรวมในการตัดสิน อ่านเพิ่มเติม
วันอาทิตย์ที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558
กีฬาภูมิปัญญาไทย
กระบี่กระบอง เป็นการฝึก การเล่น และการแสดง
การต่อสู้ด้วยอาวุธโบราณของไทย ที่ใช้ป้องกันประเทศในสมัยก่อน
โดยทำอาวุธเลียนแบบอาวุธจริง ด้วยโลหะ ไม้ หวาย หรือหนังสัตว์
เพื่อไม่ให้เกิดอันตรายใด ๆ ในการฝึก การเล่น และการแสดง เดิมเรียกว่า
การประลองดาบ การประลองหอก จนกระทั่ง หลังรัชสมัยของรัชกาลที่ ๑ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์จึงเรียกว่า “กระบี่กระบอง” อ่านเพิ่มเติม
ประโยชน์ของกระบี่กระบอง
ประโยชน์ของกระบี่กระบอง
กระบี่ -
กระบอง มีคุณประโยชน์แก่ผู้เล่นเป็นเอนกประการสรุปรวมได้เป็น 5 ข้อ ดังนี้
คือ
ชื่อไม้รำ 12 ไม้รำ
ชื่อไม้รำ 12 ไม้รำ
ไม้รำที่ 1 ลอยชาย ลักษณะการเดิน เดินแบบสลับฟันปลา
ไม้รำที่ 2 ควงทัดหู ลักษณะการเดิน เดินแบบสลับฟันปลา
อ่านเพิ่มเติม
ไม้รำที่ 1 ลอยชาย ลักษณะการเดิน เดินแบบสลับฟันปลา
ไม้รำที่ 2 ควงทัดหู ลักษณะการเดิน เดินแบบสลับฟันปลา
อ่านเพิ่มเติม
ไม้รำที่ 1
1. ไม้รำที่ 1 ลอยชาย ทิศในการเดิน เดินเฉียงแบบสลับฟันปลาเริ่มจากท่าคุมรำ
จังหวะที่ 1 ก้าวเท้าซ้ายเฉียงไปขวา วางเท้าซ้ายลงหน้าเท้าขวาลักษณะทำกึ่งขวาหันโล้น้ำหนักตัวไปข้างหน้า เข่าซ้ายงอเล็กน้อย
จังหวะที่ 2 ก้าวเท้าขวาชิดเท้าซ้าย ลำตัวตรง รักษาระดับกระบี่ให้ขนานพื้น อ่านเพิ่มเติม
จังหวะที่ 1 ก้าวเท้าซ้ายเฉียงไปขวา วางเท้าซ้ายลงหน้าเท้าขวาลักษณะทำกึ่งขวาหันโล้น้ำหนักตัวไปข้างหน้า เข่าซ้ายงอเล็กน้อย
จังหวะที่ 2 ก้าวเท้าขวาชิดเท้าซ้าย ลำตัวตรง รักษาระดับกระบี่ให้ขนานพื้น อ่านเพิ่มเติม
1. การถวายบังคม
ในสมัยโบราณการแสดงการต่อสู้มักกระทำต่อหน้าที่ประทับ ผู้แสดงจึงต้องมีการถวายบังคมซึ่งเป็นการแสดงความเคารพต่อพระเจ้าแผ่นดินด้วย และต่อมาได้เป็นการปฏิบัติเพื่อแสดงความจงรักภักดีต่อพระมหากษัตริย์และผู้มีพระคุณ การถวายบังคมนี้จะกระทำ 3 ครั้ง แต่ละครั้งมีความหมายดังนี้ อ่านเพิ่มเติม
ในสมัยโบราณการแสดงการต่อสู้มักกระทำต่อหน้าที่ประทับ ผู้แสดงจึงต้องมีการถวายบังคมซึ่งเป็นการแสดงความเคารพต่อพระเจ้าแผ่นดินด้วย และต่อมาได้เป็นการปฏิบัติเพื่อแสดงความจงรักภักดีต่อพระมหากษัตริย์และผู้มีพระคุณ การถวายบังคมนี้จะกระทำ 3 ครั้ง แต่ละครั้งมีความหมายดังนี้ อ่านเพิ่มเติม
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)